O-03-กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ข้อมูลกฎหมายที่มีการบังคับใช้งานตำรวจ

1.กฎหมาย กฎ ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง

  1. ประมวลกฎหมายอาญา(ปรับปรุง 3 กุมภาพันธ์ 2567)
  2. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(ปรับปรุง 3 กุมภาพันธ์ 2567)
  3. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(ปรับปรุง 3 กุมภาพันธ์  2567)
  4. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย(ปรับปรุง 3 กุมภาพันธ์ 2567)
  5. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ปรับปรุง 3 กุมภาพันธ์ 2567)
  6. พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2565
  7. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
  8. พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  9. กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการแต่งตั้งข้าราชการตํารวจ พ.ศ.2561
  10. กฎ ก.ตร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งยศ พ.ศ.2554
  11. ผนวก ก แนวทางปฏิบัติในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจ
  12. ผนวก ข แนวทางปฏิบัติในการเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
  13. หนังสือ ตร. ที่ 0009.251/ว 36 ลง 26 มิ.ย.2557 เรื่องกำหนดแนวทางปฏิบัติในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
  14. เปรียบเทียบแนวทางฯ ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.251/ว 019 ลง 15 ก.พ.2555 (แนวทางเดิม) กับแนวทางฯ ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.251/ว 36 ลง 26 มิ.ย.2557 (แนวทางใหม่)
  15. หนังสือ ตร. ด่วนที่สุด ที่ 0009.251/ว 026 ลง 22 มี.ค.2554 ซักซ้อมการปฏิบัติการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจและการเลื่อนค่าจ้างลูกจ้างประจำ (ผนวก ข) – หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินข้ามแท่ง)
  16. หนังสือ ตร. ที่ 0009.251/ว 019 ลง 15 ก.พ.2555 กำหนดแนวทางปฏิบัติในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจและเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
  17. กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจ พ.ศ.2556
  18. พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547
  19. พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554
  20. พ.ร.ฎ.การปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการตำรวจ พ.ศ.2554
  21. ระเบียบ ก.ตร. ว่าด้วยผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจ พ.ศ.2554

  พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522

 พระราชกฤษฎีกา กำหนดท้องที่ที่ผู้ขับขี่จักรยานยนต์และคนโดยสารรถจักรยานยนตร์ต้องสวมหมวกที่จดทำขึ้นโดยเฉพาะ พ.ศ.2537

 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522

 กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522

 กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522

 กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522

 กฎกระทรวง ฉบับที่ 16 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522

 กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบสภาพของรถที่อาจทำให้เสื่อมเสียสุขภาพอนามัย พ.ศ.2546

 กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบผู้ขับขี่ ซึ่งได้เสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 เฉพาะแอมเฟตามีนหรือเมทแอมเฟตามีน พ.ศ.2548

คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 22/2558 เรื่อง มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแข่งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ ในทางและการควบคุมสถานบริการหรือสถานประกอบการที่เปิดให้บริการในลักษณะที่คล้ายกับสถานบริการ

เอกสารเกี่ยวกับงานแผนงานและงบประมาณ

พ.ศ.2566

  1. แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ราย 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570)
  2. แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

พ.ศ.2565

  1. แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
  2. การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลประกอบการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
  3. รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปีงบประมาณ 2565 (รอบ 9 เดือน)

พ.ศ.2564

  1. แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
  2. แผนปฎิบัติราชการสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
  3. รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปีงบประมาณ 2564 (รอบ 6 เดือน)
  4. รายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามแผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

พ.ศ.2562

  1. โครงการประเมินระดับความสำเร็จของ การดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
  2. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการประเมินประสิทธิภาพสถานีตำรวจและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

เอกสารเกี่ยวกับงานธุรการและกำลังพล

  1. ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2557-2566
  2. ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ว่าด้วยแนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณากรณีเป็นผู้ประพฤติเสื่อมเสีย ขัดต่อมาตรฐานทางจริยธรรม หรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี พ.ศ.2566

พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)

  1. การยื่นคำร้องเรียนต่อคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับความผิดตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562

คู่มือ

  1. คู่มือการฝึกว่าด้วยแบบฝึกบุคคลท่ามือเปล่า
  2. คู่มือการฝึกว่าด้วยแบบฝึกบุคคลท่าอาวุธ
  3. คู่มือการฝึกว่าด้วยแบบฝึกบุคคลท่าอาวุธปืนเล็กสั้น
  4. คู่มือการฝึกว่าด้วยแบบฝึกบุคคลท่ากระบี่ 
  5. คู่มือเสริมสร้างการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ
  6. คู่มือฐานความผิดตามกฎหมายเลือกตั้ง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2566

อื่นๆ

  1. การขอใช้สัญญาณไฟวับวาบ เสียงสัญญาณ ไซเรน รถฉุกเฉิน
  2. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2559
  3. เครื่องหมายรูปพระแสงดาบเขนและโล่ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
  4. Font 13 ฟอนต์แห่งชาติ

แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย

แนวปฏิบัติในการจับหรือค้น

มาตรการป้องกันการแทรกแซง การใช้ดุลยพินิจ

แนวปฏิบัติในการใช้ดุลยพินิจไม่รับคำร้องทุกข์ในคดีอาญา

แนวปฏิบัติในการสอบปากคำของพนักงานสอบสวน

สิทธิของผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมและสิทธิผู้ต้องหา

รายละเอียดเพิ่มเติม

แนวทางปฏิบัติในการจับหรือค้น

มาตรการป้องกันการแทรกแซง การใช้ดุลพินิจ

มาตราการป้องกันการแทรกแซง

  1. มีการประชุมกำชับพนักงานสอบสวน ให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในการดำเนินการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน เพื่อให้มีความยุติธรรม
  2. ให้หัวหน้าสายงานกำกับดูแลคดีอย่างใกล้ชิด เพื่อทำให้ประชาชนมีความมั่นใจในขบวนการยุติธรรม
  3. ตรวจสำนวนการสอบสวนด้วยตนเอง

แนวปฏิบัติในการใช้ดูลพินิจไม่รับคำร้องทุกข์ในคดีอาญา

ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ว่าด้วยการรับเลขคำแจ้งความและเลขคดีอาญา พ.ศ.2565

แนวปฏิบัติในการสอบปากคำขอพนักงานสอบสวน

สิทธิของผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมและสิทธิผู้ต้องหา

สิทธิ์ผู้เสียหาย

ผู้เสียหายมีสิทธิอะไรบ้าง 

สิทธิร้องทุกข์และถอนคำร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงานตำรวจ
• สิทธิในการฟ้องคดีอาญาและถอนฟ้องคดีอาญา
• สิทธิในการฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
• สิทธิในการขอเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ
• สิทธิที่จะยื่นคำร้องในคดีอาญาที่พนักงานอัยการ
เป็นโจทก์ ขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
• สิทธิคัดค้านการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหา หรือจำเลยในกรณีที่ศาลรับฟ้องแล้ว
• สิทธิที่จะไม่ต้องตอบคำถามโดยตรงหรือโดยอ้อม ซึ่งอาจทำให้ผู้เสียหายในฐานะพยานถูกฟ้องคดีอาญา
• สิทธิในการรับรู้ความคืบหน้าของคดีและผลของคำพิพากษา
• สิทธิที่จะแสดงความคิดเห็นและข้อกังวลใจต่อศาล
• สิทธิขอให้ศาลตั้งทนายความให้
• สิทธิขอให้จัดให้มีการยืนยันหรือชี้ตัวผู้กระทำผิดในสถานที่
ที่เหมาะสมและมิให้ผู้เสียหายถูกมองเห็น
• สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ยและประนอม ข้อพิพาทเพื่อเยียวยาค่าเสียหาย
• อื่น ๆ

สิทธิของผู้ต้องหา

           ผู้ต้องหา หมายถึง บุคคลผู้ถูกหาว่าได้กระทำผิดแต่ยังมิได้ถูกฟ้องต่อศาล (ป.วิ.อาญา มาตรา ๒ (๒)) ซึ่งผู้ต้องหาอาจเป็นผู้ที่ยังไม่ถูกจับกุมก็ได้ เมื่อผู้ต้องหาถูกจับกุมในเรื่องที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดอาญา โดยส่วนใหญ่พนักงานสอบสวนมักไม่ค่อยที่จะแจ้งสิทธิให้แก่ผู้ต้องหาให้ทราบ แต่จะทำลงในรายงานการสอบปากคำว่าได้มีการแจ้งสิทธิแล้วและให้ผู้ต้องหาเซ็นรับทราบ กรณีแบบนี้ถือว่าเป็นการการกระทำที่มิชอบตามกกฎหมาย ซึ่งส่วนใหญ่ชาวบ้านที่ไม่รู้กฎหมายก็จะถูกพนักงานสอบสวนกระทำเช่นนี้ ทำให้บางท่านบางรายถึงกับต้องติดคุกติดตารางหรือแพ้คดีไป ยกตัวอย่างเช่น คดีที่กำลังเป็นข่าวดัง คือ คดีที่คุณตา-คุณยาย เข้าไปเก็บเห็ดในเขตป่าสงวน แต่พนักงานสอบสวนมิได้แจ้งสิทธิให้ทราบ

ผู้ต้องหามีสิทธิดังนี้

            ๑. สิทธิแจ้งหรือขอให้เจ้าพนักงานแจ้งให้ญาติ หรือผู้ซึ่งผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาไว้วางใจทราบถึงการถูกจับกุมและสถานที่ที่ถูกควบคุมในโอกาสแรก (ป.วิ.อาญา มาตรา ๗/๑)

            ๒. สิทธิที่จะพบและปรึกษาผู้ที่จะเป็นทนายความสองต่อสอง

            ๓. สิทธิได้รับการเยี่ยมหรือติดต่อกับญาติตามสมควร

            ๔. สิทธิได้รับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกิดการเจ็บป่วย

            ๕. สิทธิได้รับการแจ้งจากเจ้าพนักงานผู้จับว่าผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหามีสิทธิตามข้อ ๑ ถึง ๔

            ๖. สิทธิที่จะได้รับการสอบสวนโดยเร็ว และได้รับทราบการแจ้งสิทธิต่างๆ จากพนักงานสอบสวน (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔)

            ๗. สิทธิให้ทนายความหรือผู้ที่ตนไว้วางใจเข้าฟังการสอบปากคำของผู้ต้องหา (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๓)

            ๘. สิทธิที่จะให้การหรือไม่ก็ได้ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๔)

            ๙. สิทธิที่จะไม่ถูกบังคับขู่เข็ญ ล่อลวง ให้สัญญาเพื่อให้การ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๕)

            ๑๐. สิทธิของผู้ต้องหาที่เป็นเด็กและเยาวชนที่จะได้รับการสอบสวนคดีบางประเภทโดยมีนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ พนักงานอัยการและทนายความเข้าร่วมฟังการสอบสวน (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๒)

            ๑๑. สิทธิที่จะได้รับการประกันตัว (ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๔/๑, ๑๐๖)

            ๑๒. สิทธิร้องขอให้ศาลสั่งปล่อยตัวหากมีการควบคุมตัวโดยมิชอบ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๙๐)

            ๑๓. สิทธิได้รับการจัดหาทนายกรณีคดีมีอัตราโทษประหารชีวิต หรือผู้ต้องหามีอายุไม่เกินสิบแปดปี และในคดีที่มีอัตราโทษจำคุกหากผู้ต้องหาไม่มีทนายและต้องการทนาย พนักงานสอบสวนต้องจัดหาทนายให้ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔/๑)

            ๑๔. สิทธิที่จะได้รับแจ้งถึงพฤติการณ์ และการกระทำที่ถูกกล่าวหา ก่อนการถูกแจ้งข้อกล่าวหา (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓๔)

            ๑๕. สิทธิได้รับการจัดหาล่าม (ป.วิ.อาญา มาตรา ๑๓)

***ข้อมูลทั้งหมด Up Date เมื่อ 31 มี.ค.2567

Checklist

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  • ข้อมูลกฎหมายที่มีการบังคับใช้ของสถานีตำรวจ โดยมีการจัดเป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อการค้นหา

หมายเหตุ : กรณีมีกฎหมายที่บังคับใช้เป็นจำนวนมาก ควรมีกฎหมายที่ประชาชนต้องรู้/ควรรู้ เปิดเผยก่อน

แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย

  • แนวปฏิบัติในการจับหรือค้น
    • มาตรการป้องกันการแทรกแซง การใช้ดุลยพินิจ
    • แนวปฏิบัติในการใช้ดุลยพินิจไม่รับคำร้องทุกข์ในคดีอาญา
    • แนวปฏิบัติในการสอบปากคำของพนักงานสอบสวน

สิทธิของผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมและสิทธิผู้ต้องหา